The Wayback Machine - https://web.archive.org/web/20120203105406/http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=11253
 
 


Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
    home news magazine columnist books & idea photo galleries resources 50 manager manager 100 join us    
 
 


bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page


ตีพิมพ์ใน นิตยสารผู้จัดการ
ฉบับ มิถุนายน 2547








 
นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547
34 ปี ช่อง 3
โดย ไพเราะ เลิศวิราม
 

   
related stories

Channel 3 New Episode
Family business
ประวิทย์ มาลีนนท์ Big brother
ประชุม มาลีนนท์ นักลงทุนนอกกรอบช่อง 3

   
www resources

โฮมเพจ สถานีโทรทัศน์ช่อง 3

   
search resources

บีอีซี เวิลด์, บมจ.
ไทยทิกเก็ตมาสเตอร์
องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (MCOT)
ไทยโทรทัศน์
บีอีซีไอ คอร์ปอเรชั่น, บจก.
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ.ส.ม.ท.
ไตรภพ ลิมปพัทธ์
บีอีซี มัลติมีเดีย - BECM
บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์, บจก.
TV




- 4 มีนาคม 2511 - บริษัทบางกอกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ และบริษัทไทยโทรทัศน์ลงนามร่วมกิจการส่งโทรทัศน์ ในนามสถานีวิทยุ โทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

- 26 มีนาคม 2513 - แพร่ภาพออกอากาศอย่างเป็นทางการ

- 2514 - ทำนิตยสารรายการโทรทัศน์เพื่อแจกจ่ายฟรี

- 2515 - รื้อโครงสร้างรายการ นำรายการภาพยนตร์ชุดจากต่างประเทศมาเป็นหลัก

- 2517 - นำภาพยนตร์จีนชุดจากไต้หวัน "เปาบุ้นจิ้น" ออกอากาศ

- 2518 - ติดต่อสั่งซื้อภาพยนตร์จีนเรื่องยาวจากบริษัทผู้สร้างทั้งในฮ่องกง และไต้หวัน แทนซื้อผ่านตัวแทนจำหน่ายในประเทศ และเจรจากับผู้สร้างภาพยนตร์ไทยขอนำฟิล์มมาอัดลงเป็นเทปโทรทัศน์ก่อนภาพยนตร์แต่ละเรื่องเข้าฉายในโรงภาพยนตร์

- 2519 - รื้อฟื้นการผลิตรายการละคร โดยเปลี่ยนวิธีทำละครใหม่ บันทึกเทปก่อนออกอากาศ
- นำภาพยนตร์ไทยเรื่องยาวมาออกอากาศ

- 2520 - คณะรัฐมนตรีมีมติให้ยุบบริษัทไทยโทรทัศน์ จัดตั้ง อ.ส.ม.ท.ขึ้นแทน ช่อง 3 ย้ายมาอยู่ในความดูแลของ อ.ส.ม.ท. แทน
- ยื่นขอขยายอายุสัญญาดำเนินการไปอีก 10 ปี
- จัดผังรายการใหม่ แบ่งช่วงเวลาและเนื้อหาหลากหลาย
- ทำนิตยสารรายการโทรทัศน์ภาษาอังกฤษ

- 2521 - ได้รับอนุมัติขยายอายุสัญญาร่วมดำเนินการกับ อ.ส.ม.ท.ไปอีก 10 ปี
- นำรายการ "ข่าวดาวเทียม" ซึ่งเป็นรายงานข่าวที่ถ่ายทอดโดยตรงจากแหล่งข่าวต่างประเทศ
- 2523 - มาตรการประหยัดไฟของรัฐบาล ทำให้ต้องหยุดออกอากาศในช่วง 18.30-20.30 น.
- จัดตั้งสถาบันศิลปะการแสดงขึ้น เพื่อผลิตนักแสดง

- 2524 - รัฐบาลมีมติให้ออกอากาศไม่เกินวันละ 8 ชั่วโมง และเสาร์-อาทิตย์ ออกอากาศไม่เกิน 16 ชั่วโมง
- 2525 - กบว.มีมติให้ลดรายการจากต่างประเทศลง มีผลให้สถานีต้องเร่งผลิตรายการในประเทศ มีผลให้เปิดรับนักแสดงในสังกัดและริเริ่มโครงการคัดเลือกผู้เขียนบทประพันธ์และบทโทรทัศน์
- ซื้ออุปกรณ์ห้องส่ง 50 ล้าน ปรับปรุงห้องส่งโทรทัศน์
- 2528 - ครม.มีมติให้ช่อง 3 ร่วมกับ อ.ส.ม.ท.ขยายเครือข่ายโทรทัศน์ในต่างจังหวัด ใช้เงินรายได้ของ อ.ส.ม.ท.เป็นหลักที่เหลือให้กู้
- ได้รับให้เป็นตัวแทนรับลิขสิทธิ์จากบริษัทมิสเวิลด์ ประเทศอังกฤษ จัดประกวดมิสไทยแลนด์เวิลด์

- 2529 - ย้ายสำนักงานมาอยู่ที่อาคารวานิช
- รัฐบาลอนุมัติให้ออกอากาศในช่วงเวลา 18.30-20.00 น.ได้ แต่ต้องเป็นรายการข่าว และรายการเพื่อการศึกษา เท่านั้น และเลื่อนการเสนอข่าวภาคค่ำของทุกสถานีมาเป็น 19.30 น.
- เป็นครั้งแรกที่ อ.ส.ม.ท.อนุมัติให้ช่อง 3 แยกรายการข่าวไปทำเอง หลังจากทำร่วมกันมากว่า 5 ปี

- 2530 - เซ็นสัญญากับ อ.ส.ม.ท.ร่วมขยายเครือข่ายโทรทัศน์ทั่วประเทศ 22 สถานี ใช้เวลา 2 ปี โดยสถานีได้กู้เงินจากสถาบันการเงิน 4 แห่ง วงเงิน 1,200 ล้านบาท มาใช้ขยาย
- ชาตรี โสภณพนิช รับเป็นประธานกรรมการคนใหม่

- 2532 - ลงนามขยายสัญญาสัมปทานกับ อ.ส.ม.ท.ไปจนถึงปี 2563
- ร่วมกับ อ.ส.ม.ท.จัดตั้งสถานีเครือข่ายเพิ่มขึ้นอีก 9 สถานี จาก 22 สถานี มีผลให้สามารถแพร่ภาพครอบคลุมพื้นที่ ร้อยละ 90 ของพื้นที่ประเทศ
- ปรับปรุงเทคนิค ซื้ออุปกรณ์ห้องส่ง อุปกรณ์ผลิตรายการข่าว และเครื่องบันทึกภาพในและนอกสถานที่ ปรับปรุงระบบการออกอากาศ ใช้เงินลงทุน 70 ล้านบาท
- ปรับปรุงสถานีวิทยุ F.M.105.5 เมกะเฮิรตซ์ ออกอากาศ ดำเนินรายการเหมือนกับสถานีวิทยุทั่วไป

- 2533 - แพร่ภาพรายการทไวไลท์เป็นครั้งแรก

- 2534 - เพิ่มรายการกีฬาต่างประเทศ บาสเก็ตบอล เอ็นบีเอ, อเมริกันฟุตบอล และฟุตบอลเยอรมัน บุนเดสลีกา
- เพิ่มเวลาละคร เป็น 2 ช่วง
- ขยายเวลาสัมปทานวิทยุ F.M.105.5 ไปจนถึง 2563
- 2535-2537 - รัฐบาลยกเลิกคำสั่งเกี่ยวกับกำหนดเวลาแพร่ภาพ ส่งผลให้เกิดการตื่นตัว ขยายเวลาออกอากาศ และเพิ่มรายการ ใหม่ๆ ทอล์กโชว์ เกมโชว์

- 2538 - ขยายเวลาออกอากาศละครหลังข่าวเป็นชั่วโมงครึ่ง รวบรวมบริษัทในเครือทำธุรกิจทีวี และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
จัดตั้งกลุ่มบีอีซีเวิลด์

- 2539 - นำบริษัทบีอีซี เวิลด์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ
- ริเริ่มจัดกิจกรรม "จิบน้ำชา ยามบ่าย" โปรโมตละคร เพิ่มรายการสีสันบันเทิง
- 2540 - ปรับผังรายการช่วงเช้า นำรายการภาคภาษาอังกฤษ Talk of the town
- ปรับผังรายการช่วงเวลา 22.00 น. เป็นรายการเกมโชว์ วาไรตี้ และทอล์กโชว์ ภายใต้โครงการ MAGIC 3
- ทำเว็บไซต์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารรายการของช่อง 3
- ซื้อหุ้นบริษัทซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ 20%

- 2541 - ปรับผังรายการใหม่ เน้นกีฬามากขึ้น ซื้อรายการและลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดกีฬาจากทั่วโลก และเพิ่มรายการ
- เพิ่มช่วงเวลาละครวันธรรมดาอีกช่วง 18.00-18.30 น.
- ปรับทิศทางเสนอข่าว
- เปิดภาพยนตร์จีนชุด "ซือกง" นำกลยุทธ์การตลาดและประชาสัมพันธ์สร้างความฮือฮา

- 2542 - เพิ่มปริมาณนำเสนอข่าวเช้าและเที่ยง และข่าวสั้น
- ย้ายสำนักงานจากหัวมุมวิทยุมาอยู่อาคารเอ็มโพเรียม ทาวเวอร์

- 2543 - ซื้อลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสด "ฟุตบอลยูโร 2000"
- เปิดตัวรายการเกมเศรษฐี
- จัดตั้งบริษัทไทยทิกเก็ตมาสเตอร์.คอม จำหน่ายตั๋วออนไลน์
- ก่อตั้งบริษัทบีอีซีไอ คอร์ปอเรชั่น ทำธุรกิจอินเทอร์เน็ต
- ก่อตั้งบริษัทบีอีซี มัลติมีเดีย ทำธุรกิจมัลติมีเดีย

- 2545 - ก่อตั้งบริษัทโซนี่ มิวสิค บีอีซี เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนต์
- ก่อตั้งบริษัทรวาทุนเวอร์จิ้น บีอีซี เทโร เรดิโอ เซอร์วิสเซส บริหารคลื่นวิทยุ 4 คลื่น
- ก่อตั้งบริษัทโมบิ (ไทย)
- ก่อตั้งบริษัทพีน่า-บีอีซี เทโร ค้าปลีกจำหน่ายสินค้าลิขสิทธิ์ของ warner bros ในไทย

- 2546 - ปรับปรุงผังรายการช่วงเช้า เน้นรายการข่าว โลกยามเช้า และเรื่องเล่าเช้านี้
- ก่อตั้งบริษัทดิจิตอล แฟคเทอรี พัฒนาเนื้อหาผ่านสื่อดิจิตอล

- 2547 - ไตรภพ ลิมปพัทธ์ ผู้ผลิตรายการหลักไปร่วมหุ้นกับไอทีวี ส่งผลให้ช่อง 3 ดึงจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ผลิตรายการแทน
- ปรับผังรายการเพิ่มเวลาละครช่วงเย็นอีก 2 ช่วง และย้ายเวลาข่าวภาคค่ำจาก 19.30-20.00 น. มาออกอากาศ 17.00-18.00 น.

   




 








current issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us

Creative Commons License
ผลงานนี้ ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย